"รองเท้านารี" กล้วยไม้ชนิดนี้ จัดอยู่ในสกุล Paphiopedilum หมายความถึง เทพธิดาผู้เลอโฉม หรือเทพธิดาวีนัส หรือ รองเท้าแสนสวยของเทพธิดาวีนัส ซึ่งถอดความมาจากคำภาษาอังกฤษว่า Lady's slipper หากลองสังเกตดอกอย่างพินิจพิเคราะจะเห็นว่ารูปลักษณ์อันแปลกตานั้นคล้ายคลึงกับรองเท้าแตะหรือปลายรองเท ้าไม้ของสุภาพสตรีชาวเนเธอร์แลนด์ย่งนัก ใคร ๆ จึงเรียกสั้นๆ ว่า กล้วยไม้รองเท้านารี มีชื่อเรียกอื่นๆ อีกหลายชื่อ เช่น รองเท้านาง รองเท้าแตะนารี หรือ บุหงากะสุต ในภาษามาเลเซีย อันหมายถึงรองเท้าของสตรี เนื่องจากกลีบดอก หรือที่เรียกว่า "กระเป๋า" มีรูปร่างคล้ายกับรองเท้าของสตรีแลรองเท้าไม้ของชาวเนเธอแลนด์ กระเป๋าของรองเท้านารีมีรูปร่างลักณะและสีสรรแตกต่างกันไปตามชนิดพันุ์
กล้วยไม้สกุลนี้มีแหล่งกำเนิดอยู่ในเขตอบอุ่น และเขตร้อนแถบเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ตั้งแต่อินเดีย ฟิลิปปินส์ พม่า มาเลเซีย และในประเทศไทย มักขึ้นตามพื้นดิน ซอกหินตามหน้าผา หรือบางชนิดเป็นกล้วยไม้อิงอาศัย ในประเทศไทยมีการสำรวจพบ 14 ชนิด แต่ละชนิดมีความงามแตกต่างกัน รวมทั้งมีการปรับปรุงและคัดสายพันธ์กันอย่างแพร่หลายด้วย และเป็น 1 ใน 1131 ชนิดพันธุ์ไม้ที่ใกล้สูญพันธุ์
วันอังคารที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554
กล้วยส้มสยาม
ลักษณะ: ลำต้นเป็นเหง้าขนาดเล็กทอดขนานอยู่ใต้ดิน ไม่มีใบ ช่อดอกแบบกระจะ มี 3-5 ดอก ดอกกว้าง 0.5 ซม. สีครีมอมส้ม กลีบเลี้ยงบนและกลีบดอกเชื่อมติดกัน ปลายแยก กลีบเลี้ยงคู่ข้างเชื่อมติดกัน ปลายแยก กลีบปากรูปแถบ ปลายมีเยื่อนูนรูปหัวใจ ด้านหน้าเส้าเกสรมีรยางค์เหมือนเขี้ยวขนาดใหญ่โค้งลง
ออกดอกช่วงเดือน: พฤษภาคม
แหล่งที่พบ: พืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในประเทศไทยที่เชียงใหม่และนครราชสีมา
แหล่งที่พบ: พืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในประเทศไทยที่เชียงใหม่และนครราชสีมา
ออกดอกช่วงเดือน: พฤษภาคม
แหล่งที่พบ: พืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในประเทศไทยที่เชียงใหม่และนครราชสีมา
แหล่งที่พบ: พืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในประเทศไทยที่เชียงใหม่และนครราชสีมา
ออกดอกช่วงเดือน: พฤษภาคม
แหล่งที่พบ: พืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในประเทศไทยที่เชียงใหม่และนครราชสีมา
แหล่งที่พบ: พืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในประเทศไทยที่เชียงใหม่และนครราชสีมา
ออกดอกช่วงเดือน: พฤษภาคม
แหล่งที่พบ: พืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในประเทศไทยที่เชียงใหม่และนครราชสีมา
แหล่งที่พบ: พืชถิ่นเดียวพบเฉพาะในประเทศไทยที่เชียงใหม่และนครราชสีมา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)